วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียรู้ครั้งที่ 16 วันที่4 ตุลาคม 2554

สอบปลายภาค

บันทึกการเรียนรู้ที่ 15 วันที่27 กันยายน 2554

อาจารย์สรุปเนื้อหาที่เรียนไปทั้งหมด
ความรู้ที่ได้รับจาก วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-การสอบเเบบโครงการ
-การเขียนเเผน
-การทำโครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 14 วันที่ 20 กันยายน 2554

อาจารย์อธิบายถึงกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6 ทักษะ ดังนี้
1.ทักษะารสังเกต
2.ทักษะการจำเเนก
3.ทักษะการแสดงปริมาณ
4.ทักษะการสื่อความหมาย
5.ทักษะการเเสดงความคิดเห็น
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา
อาจารย์ให้ส่งแผนของเเต่ละคน




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

อาจารย์ให้ส่งแผนกลุ่ม โดย กลุ่มของดิฉัน เขียนแผน หน่วยเรื่องผลไม้
หัวข้อเรื่องที่เราจะเอามาสอนเราต้องดูจาก สาระการเรียนรู้ ซึ่งประกอบไปด้วย
1.เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
2.บุคคลและสถานที่
3.ธรรมชาติรอบตัว
4.สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

และแผนการสอนมีส่วนกระกอบดังนี้
- วัตถุประสงค์
-ประสบการณ์สำคัญ
-กิจกรรมการสอน
ขั้นนำ
ขั้นสอน
ขั้นสรุป

เราจะต้องเขียนให้ครบทุกส่วนประกอบที่มีอยู่ในแผน เพื่อง่ายต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนให้กับเด็ก และอาจารย์ยกตัวอย่างการเขียนเเผน คือ หน่วย เห็ด
จากหัวข้อใหญ่มาเขียนแผนการจัดประสบการณ์ในเเต่ละวัน ทั้งหมด 5 วัน




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 12 วันที่ 6 กันยายน 2554


อาจารย์ให้ส่งงานสิ่งประดิษฐ์จากแกนทิชชู
ชื่อ ผลงาน กล้องผสมสี
วัสดุอุปกรณ์
1. แกนทิชชู
2.กระดาษแก้ว 3 สี
3.กระดาษเศษ
4. สติ๊กเกอร์ใส
5. กรรไกร
ุ6.กาว
วิธีการทำ
1. ทำแกนทิชชู 2 ขนาด คือ ขนาดเล็กกับขนาดใหญ่
2.ตัดกระดาษแก้วทั้ง 3 สี ไว้ แผ่น
3.นำกระดาษแก้วที่ตัดไว้มาติดกาวบนปากแกนทิชชู ทั้ง 6 อัน
4.นำกระดาษสีมาตกแต่งให้สวยงาม
5.นำสติกเกอร์ใสมาเคลือบแกนทิชชู
วิธีการเล่น
1.ทดลองมอง ผ่านกล้อง แต่ละอัน แร้วนำกล่องเล็กมาสอดใส่กล่องใหญ่ เเล้วทลองมองอีกครั้ง

ดูวีดิโอ เกี่ยว น้ำ

การเปลี่ยนสถานะของน้ำ

ภายใต้ความกดอากาศ ณ ระดับน้ำทะเลปานกลาง น้ำมีสถานะเป็นของเหลว น้ำจะเปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซ (ไอน้ำ) เมื่อมีอุณหภูมิสูงถึง “จุดเดือด” (Boiling point) ที่อุณหภูมิ 100°C และจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิลดต่ำถึง “จุดเยือกแข็ง”(Freezing point) ที่อุณหภูมิ 0°C การเปลี่ยนสถานะของน้ำมีการดูดกลืนหรือการคายความร้อน โดยที่ไม่ทำให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง เราเรียกว่า “ความร้อนแฝง” (Latent heat)

ความร้อนแฝงมีหน่วยเป็น แคลอรี
1 แคลอรี = ปริมาณความร้อนซึ่งทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1°C (ดังนั้นหากเราเพิ่มความร้อน 10 แคลอรี
ให้กับน้ำ 1 กรัม น้ำจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 10°C)


ภาพที่ 3 พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของน้ำ

ก่อนที่น้ำแข็งละลาย น้ำแข็งต้องการความร้อนแฝง 80 แคลอรี/กรัม เพื่อทำให้น้ำ 1 กรัม เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว น้ำแข็งดูดกลืนความร้อนนี้ไว้โดยยังคงรักษาอุณหภูมิ 0°C คงที่ไม่เปลี่ยนแปลงจนกว่าน้ำแข็งจะละลายหมดก้อน ความร้อนที่ถูกดูดกลืนเข้าไปจะทำลายโครงสร้างผลึกน้ำแข็ง ทำให้น้ำแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ในทางกลับกัน เมื่อน้ำเปลี่ยนสถานะเป็นน้ำแข็ง ก็จะคายความร้อนแฝงออกมา 80 แคลอรี/กรัม
เมื่อน้ำเปลี่ยนสถานะเป็นไอน้ำ น้ำต้องการความร้อนแฝง 600 แคลอรี เพื่อที่จะเปลี่ยน น้ำ 1 กรัม ให้กลายเป็นไอน้ำ ในทำนองกลับกัน เมื่อไอน้ำควบแน่นกลายเป็นหยดน้ำ น้ำจะคายความร้อนแฝงออกมา 600 แคลอรี/กรัม ทำให้เรารู้สึกร้อน ก่อนที่จะเกิดฝนตก




บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 11วันที่ 30 สิงหาคม 2554

จากการเรียนวันนี้ทำให้ทราบถึงประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้ คือ แกนทิชชูที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อีกโดยการนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นได้อีก และยังได้ทราบถึงวิธีการจัดการเรียนการสอบเเบบโครงการที่เป็นการจัดการเรียนการสอนเป็นระยะเวลายาว สามารถใช้เป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กได้เมื่อตอนเราฝึกสอนหรือเป็นครูต่อไป



บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10 วันที่ 23 สิงหาคม 2554

อาจารย์พูดเรื่องสิ่งของที่นำมาประดิษฐ์ได้

-ขวดน้ำ

-แกนทิชู

-หลอด

-ปากกา

-กระดาษ

-กล่องนม

-กล่องยาสีฟัน

-กระป๋อง

-ลัง

-แก้วน้ำ

ขั้นตอนการทำกิจกรรม
-ลงมือกระทำ >> มือ ตา หู ลิ้น จมูก
-คิดสร้างสรรค์ >> คิดริเริ่ม คิดคล่องแคล่ว คิดยึดยุ่น คิดละเอียดละออ
-วิธีการ >> สอดคล้องกับพัฒนาการ มีความหลากหลายในการสื่อแะกระบวนการเทคนิค
-เนื่อหา >> สอดคล้องกับหน่วยใกล้ตัว
-มีลำดับขั้นตอน

อาจารย์ได้ยกตัวอย่างหน่วยการสอนที่ใช้สอนเด็กได้ คือ หน่วยดอกไ้ม้
1.หน่วยดอกไม้
-ส่วนประกอบของดอกไม้
-ดอกไม้มีชนดอะไรบ้าง
-มีสีอะไรบ้าง
-มีประโยชน์อย่างไร
-ขยายพันธ์ด้วยวิธีการใด
-การดูเเล
-การปลูก
2.สถานที่
-สวนดอกไม้
-ร้านขายดอกไม้
-ห้องสมุดหรืออินเตอร์เน็ต
-ร้านขายของที่ระลึก
3.การจัดกิจกรรม
- การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวเเละจังหวะ >>เเต่งเพลง เคลื่อนไหวเกี่ยวกับดอกไม้
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์ >> เชิญวิทยากรมา ไปทัศนะศึกษาในสถานที่ที่เกี่ยวกับดอกไม้
-กิจกรรมศิลปะ >> วาดรูป พิมพ์ภาพ ประดิษฐ์ แต่งนิทาน
-กิจกรรมเสรี >> การจัดมุมต่างๆ
-กิจกรรมกลางเเจ้ง >> เกมส์
4.สรุปนำเสนอ
-นิทรรศการ
-เพลง
-นิทาน
-แผนที่
-งานประดิษฐ์
-ส่วนประกอบ
-อาหาร
-เกมส์
ดอกไม้ เป็นวิทยาศาสตร์ คือ เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีการทดลองเกิดการเปลี่ยนเเปลงที่ชัดเจน คือ การประกอบอาหาร